วิทยานิพนธ์


รายละเอียด :

การศึกษา วิเคราะห์หลักการ แนวคิด วิธีการจัดการแสดงโขน ประวัติความเป็นมา ของการจัดการแสดงโขน ของสำนักการสังคีต กรมศิลปากร ณ เนื่องในโอกาส 320 ปี ความสัมพันธ์ไทย-ฝรั่งเศส ณ ประเทศฝรั่งเศส พ.ศ. 2549 หลักการและแนวคิดในการจัดการแสดงโขนที่สำคัญในครั้งนี้ ได้แก่ 1)จัดการแสดงโขนตอนนางลอย ซึ่งเป็นตอนที่แสดงเฉพาะในประเทศไทย นำเสนอการแสดงในนามของ “การแสดงละครใบ้และโขน” 2)จัดให้มีการเล่นในโรงละครอย่างสมเกียรติเหมาะสมกับมหรสพประจำชาติไทย 3)คัดเลือกผู้แสดงที่มีฝีมือและเชี่ยวชาญทางนาฏยศิลป์ไทย 4)จัดทำฉากประกอบการแสดง แสง สี เพื่อเพิ่มอรรถรสในการรับชม 5)จัดจ้างทีมงานคุณภาพที่มีประสบการณ์ด้านเทคนิคการแสดงเพื่อออกแบบแสงสีประกอบฉากและการแสดง 6)การจัดทำสูจิบัตรการแสดงอย่างมีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล 7)จัดรายการสาธิตโขน เป็นการจัดการเผยแพร่ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับนาฏยศิลป์ไทย 9)เสริมการแสดงหน้าม่าน เพื่อให้เห็นขั้นตอนการเตรียมการแสดงโขน

  • ISBN : -
  • รูปแบบ : วิทยานิพนธ์ (ปริญญาโท/ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต/นาฏยศิลป์ไทย/จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) (สิ่งพิมพ์/สื่อออนไลน์
  • ผู้ผลิต/ผู้พิมพ์ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สำนักงานวิทยทรัพยากร
  • ปีที่เผยแพร่ (พ.ศ.) : 2559
  • สถานที่เก็บเอกสาร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ลิขสิทธิ์ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • หมายเหตุ : ลิงก์ http://202.28.199.21/tdc/basic.php เป็นของโครงการเครือข่ายห้องสมุดแห่งประเทศไทย (ThaiLIS) ให้บริการสืบค้นฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม ซึ่งเป็นเอกสารข
  • ที่มา : http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46324 http://202.28.199.21/tdc/basic.php http://202.28.199.21/tdc/browse.php?option=show&browse_type =tit




เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง